ความเป็นมาของศาสนาซิกข์

ศาสนาสิกข์ หรือ ซิกข์

ประวัติศาสนา

    ศาสนาสิกข์ (คำว่า สิกข์ มาจากภาษาบาลี สิกขา แปลว่า การศึกษา การฝึกหัด) เป็นศาสนาที่ตั้งขึ้นใหม่ (อันเนื่องมาจากศาสนาอิสลาม ในยุคของราชวงศ์โมกุลเข้าครองชมพูทวีป ทำลายล้างประชาชนชาว ชมพูทวีปที่ไม่นับถือศาสนาอิสลามเสียหมด หากผู้ใดหันมานับถืออิสลาม ก็ยกเว้น ไม่ฆ่า  จนทำให้พุทธศาสนาสูญสิ้นไปจากอินเดีย อันเนื่องมาจาก ศาสนาพุทธ ไม่ถืออาวุธเข้าหั้มหั่นเหมือนศาสนาอื่น ๆ  แต่มีศาสนาหนึ่ง คือ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่ยกอาวุธขึ้นสู้กับศาสนาอิสลามจนถึงทุกวันนี้ อันเป็นเหตุให้ชมพูทวีปแบ่งแยกออกเป็นหลายประเทศ เช่น  อัฟกานิสถาน  ปากีสถาน  เนปาล  บังคลาเทศ ฯลฯ) ซึ่งเป็นศาสนาของชาวอินเดีย ที่เห็นร่วมกันว่า ควรจะมีการทำให้ชาวอินเดีย ที่นับถือศาสนาฮินดู และศาสนาอิสลาม มีความสมัครสมาน และสามัคคีกัน โดยกำหนดให้มี พระเจ้าองค์เดียว  ไม่มีพระเป็นเจ้าของมุสลิมองค์หนึ่ง ของฮินดูองค์หนึ่ง หรือของคริสต์องค์หนึ่ง (พึงสังเกตว่า ไม่มีศาสนาพุทธ เนื่องจากสูญสิ้นไปจากอินเดียแล้ว อันเนื่องมาจากเหตุดังกล่าว) แ่ต่มนุษยชาติ มีพระเจ้าเพียงองค์เดียว

guru-nanak nanak-travel-rest

คุรุนานัก ศาสดาคนสำคัญ ผู้ก่อตั้งศาสนาสิกข์

ใส่ความเห็น

ใส่ความเห็น